简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:เตือนภัย! กลโกงใหม่ใช้ SMS แจ้งค่าปรับจอดรถ อย่ากดคลิกเด็ดขาด
ในหลายประเทศตอนนี้ หากได้รับข้อความ SMS แจ้งค่าปรับจอดรถหรือค่าปรับการจอดรถโดยไม่ทราบสาเหตุ มีความเป็นไปได้สูงที่มันคือการหลอกลวงแบบ Phishing Scamer
การหลอกลวงลักษณะนี้พบได้ในหลายเมือง เช่น บอสตัน, ดีทรอยต์, ชาร์ลอตต์, ซานฟรานซิสโก และอื่น ๆ ข้อความที่ส่งมาจะมีลักษณะคล้ายกัน โดยมักระบุว่า
1.คุณมีค่าปรับจอดรถที่ยังไม่ได้ชำระ
2.หากไม่ชำระเงินภายในเวลาที่กำหนด ค่าปรับจะเพิ่มขึ้น
3 พร้อมแนบลิงก์สำหรับชำระเงิน ซึ่งเมื่อคลิกเข้าไปจะถูกนำไปยังเว็บไซต์ปลอมที่ดูเหมือนจริง
หากถามว่า กรณีนี้ มีโอกาสเกิดขึ้นในไทย ก็ต้องบอกว่ามีนะ เนื่องจากรูปแบบการหลอกลวงแบบ Phishing เป็นเทคนิคที่แฮกเกอร์ใช้กันทั่วโลก และประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่มีการใช้สมาร์ทโฟนและบริการ SMS ค่อนข้างมาก และในเมืองใหญ่ ๆ ของประเทศไทย เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ หรือภูเก็ต มีการใช้ระบบจอดรถออนไลน์และชำระเงินผ่านแอปพลิเคชันมากขึ้น ซึ่งอาจเป็นช่องทางให้แฮกเกอร์สร้างข้อความปลอมเพื่อหลอกลวงได้ครับ
วิธีป้องกันคือ
1.ตรวจสอบแหล่งที่มา หากได้รับ SMS แจ้งค่าปรับจอดรถ ให้ตรวจสอบว่าเบอร์โทรศัพท์ที่ส่งมาคือเบอร์ของหน่วยงานที่น่าเชื่อถือหรือไม่
2.ใจร่ม ๆ อย่าเพิ่งรีบคลิกลิงก์ หากไม่แน่ใจว่าเป็นข้อความจริงหรือไม่ อย่าคลิกลิงก์ที่แนบมา ให้ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงผ่านช่องทางอื่น เช่น เว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันทางการ
3.ใช้แอปพลิเคชันทางการ หากเราใช้บริการจอดรถออนไลน์ ให้ตรวจสอบค่าปรับหรือการแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชันทางการเท่านั้น
ขอบคุณข้อมูลจาก makeuseof และ techhu
อ่านข่าวสาร Forex ทั่วโลกเพิ่มเติมคลิกเลย :https://www.wikifx.com/th/original.html?source=tso4
คุณสามารถตรวจสอบใบอนุญาตโบรกเกอร์ Forex และอ่านรีวิวข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ๆ ผ่านแอป WikiFX เพียงแค่ไปค้นหาชื่อก็เจอข้อมูล ใครที่อยากได้ความรู้ เทคนิค กลยุทธ์การเทรด หรือการวิเคราะห์แนวโน้มตลาด ก็สามารถเข้ามาอ่านได้ อีกทั้งยังมีบริการ EA VPS บนแอป WikiFX อีกด้วย แอปเดียวที่จบครบเรื่อง Forex ดาวน์โหลดฟรี โหลดเลยตอนนี้จะพลาดได้ไง!
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
GVD Markets ออกคำเตือนด่วนถึงนักเทรดทั่วโลก หลังพบเว็บไซต์ปลอมในอินโดนีเซียแอบอ้างชื่อและโลโก้ของบริษัท เพื่อหลอกลวงให้ผู้ใช้ฝากเงิน ก่อนยึดทรัพย์สินโดยผิดกฎหมาย เหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อทั้งนักลงทุนรายย่อยและสถาบันการเงิน GVD Markets จึงร่วมกับ WikiFX เร่งตรวจสอบ พร้อมแนะนำให้นักเทรดตรวจสอบข้อมูลโบรกเกอร์ผ่านแพลตฟอร์มที่เชื่อถือได้ และรายงานกิจกรรมต้องสงสัยทันที เพื่อป้องกันการตกเป็นเหยื่อของการฉ้อโกงออนไลน์ในอนาคต
บทความนี้พาผู้อ่านไปรู้จักกับ “ดาร์กเว็บ” พื้นที่ลับของอินเทอร์เน็ตที่มักใช้ในการซื้อขายข้อมูลผิดกฎหมาย เช่น บัญชีการเงิน ข้อมูลบัตรเครดิต และซอฟต์แวร์แฮกระบบ ซึ่งกลายเป็นภัยคุกคามสำคัญต่อความปลอดภัยของนักเทรด โดยเฉพาะในยุคที่การลงทุนเชื่อมโยงกับโลกออนไลน์อย่างแน่นแฟ้น บทความยังแนะนำวิธีป้องกันตัวเอง 5 ข้อ เช่น ใช้ 2FA และตั้งรหัสผ่านอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูลส่วนตัวหลุดไปยังพื้นที่อันตรายเหล่านี้ พร้อมย้ำว่า “การรู้เท่าทัน” คือเกราะป้องกันชั้นแรกของนักลงทุนยุคดิจิทัล.
บทความนี้พาผู้อ่านไปสำรวจความน่าเชื่อถือของโบรกเกอร์ ETO Markets ซึ่งแม้จะเริ่มเป็นที่พูดถึงในกลุ่มนักลงทุน แต่กลับมีเสียงสะท้อนด้านลบหลายประเด็น เช่น การใช้งานเว็บไซต์ที่ซับซ้อน ระบบฝาก–ถอนที่ล่าช้า ขาดการสนับสนุนภาษาไทย และค่าบริการที่สูงเมื่อเทียบกับคู่แข่ง บทความจึงเน้นย้ำให้นักลงทุนตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียดก่อนตัดสินใจ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเลือกใช้โบรกเกอร์ที่ยังไม่มีความมั่นคงเพียงพอ.
แอดเหยี่ยวขอแจ้งเตือน! ช่วงนี้มิจฉาชีพออนไลน์ระบาดหนัก โดยใช้วิธีเปิดเพจปลอมหลอกขายสินค้า พวกเขาจะส่งโค้ดส่วนลดและคิวอาร์โค้ดให้เหยื่อ โจร AB หลอกให้โอนเงินแทนบุคคลอื่น แอดเหยี่ยวขอเตือนว่าให้ระมัดระวัง และชำระเงินผ่านระบบของแพลตฟอร์มเท่านั้น หากไม่มั่นใจ อย่าหลงเชื่อและหยุดคิดก่อนโอนเงิน!
Exness
FXTM
Saxo
HFM
Neex
EC Markets
Exness
FXTM
Saxo
HFM
Neex
EC Markets
Exness
FXTM
Saxo
HFM
Neex
EC Markets
Exness
FXTM
Saxo
HFM
Neex
EC Markets