简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:แอดเหยี่ยวพาทุกคนมาทำความรู้จักกับโบรกเกอร์แบบ No Dealing Desk (NDD) ที่ส่งคำสั่งไปยังตลาดกลางโดยตรง ไม่มีการแทรกแซงจากโบรกเกอร์ ซึ่งแตกต่างจาก Dealing Desk (DD) ที่จัดการคำสั่งเอง การใช้โบรกเกอร์ NDD ทำให้มั่นใจในความโปร่งใสและไม่มีการปรับแต่งกราฟหรือคำสั่งซื้อขาย
แอดเหยี่ยวขอพาทุกคนมาสำรวจโลกของโบรกเกอร์แบบ No Dealing Desk (NDD) กันหน่อยดีกว่า! หลายคนอาจจะเคยได้ยินชื่อ แต่ยังไม่เคยรู้ลึกว่ามันต่างจาก Dealing Desk (DD) ยังไง และทำไมนักเทรดหลายคนถึงมั่นใจในความโปร่งใสของมัน บอกเลยว่าถ้าอยากเทรดแบบสบายใจ ไม่ต้องห่วงกราฟโดนตุกติก บทความนี้มีคำตอบ
โบรกเกอร์ประเภท No Dealing Desk (NDD) คือโบรกเกอร์ที่ส่งคำสั่งซื้อขายของผู้ใช้งานเข้าสู่ตลาดกลางของ Forex โดยตรง โดยไม่ผ่านเซิร์ฟเวอร์ของโบรกเกอร์ก่อน ซึ่งหมายความว่าโบรกเกอร์ประเภทนี้ไม่แทรกแซงคำสั่งซื้อขายของลูกค้า ทำหน้าที่เป็นเพียงตัวกลางในการส่งต่อคำสั่งไปยังตลาดเท่านั้น
โบรกเกอร์ NDD ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย โดยมีรายได้จากการเก็บค่าคอมมิชชั่นหรือค่าสเปรด ซึ่งจำนวนขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละโบรกเกอร์ การส่งคำสั่งซื้อขายไปที่ตลาดกลางโดยตรงทำให้ลูกค้ารู้สึกมั่นใจได้ว่าโบรกเกอร์จะไม่ปรับแต่งกราฟหรือแทรกแซงคำสั่งซื้อขาย
ประเภทของโบรกเกอร์แบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก:
จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าการเลือกโบรกเกอร์ที่ส่งคำสั่งไปยังตลาดกลางโดยตรง (NDD) มักให้ความรู้สึกสบายใจและเชื่อมั่นในความโปร่งใสของการดำเนินการ
ขอบคุณข้อมูลจาก thaiforexreview
อ่านข่าวสาร Forex ทั่วโลกเพิ่มเติมคลิกเลย :https://www.wikifx.com/th/original.html?source=tso4
คุณสามารถตรวจสอบใบอนุญาตโบรกเกอร์ Forex และอ่านรีวิวข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ๆ ผ่านแอป WikiFX เพียงแค่ไปค้นหาชื่อก็เจอข้อมูล ใครที่อยากได้ความรู้ เทคนิค กลยุทธ์การเทรด หรือการวิเคราะห์แนวโน้มตลาด ก็สามารถเข้ามาอ่านได้ อีกทั้งยังมีบริการ EA VPS บนแอป WikiFX อีกด้วย แอปเดียวที่จบครบเรื่อง Forex ดาวน์โหลดฟรี โหลดเลยตอนนี้จะพลาดได้ไง!
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
GVD Markets ออกคำเตือนด่วนถึงนักเทรดทั่วโลก หลังพบเว็บไซต์ปลอมในอินโดนีเซียแอบอ้างชื่อและโลโก้ของบริษัท เพื่อหลอกลวงให้ผู้ใช้ฝากเงิน ก่อนยึดทรัพย์สินโดยผิดกฎหมาย เหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อทั้งนักลงทุนรายย่อยและสถาบันการเงิน GVD Markets จึงร่วมกับ WikiFX เร่งตรวจสอบ พร้อมแนะนำให้นักเทรดตรวจสอบข้อมูลโบรกเกอร์ผ่านแพลตฟอร์มที่เชื่อถือได้ และรายงานกิจกรรมต้องสงสัยทันที เพื่อป้องกันการตกเป็นเหยื่อของการฉ้อโกงออนไลน์ในอนาคต
Michael Bamber เทรดเดอร์สายกองทุน แชร์ 5 หลักการเร่งเส้นทางสู่ความสำเร็จในตลาด Forex โดยไม่ต้องลองผิดลองถูกนานปี เน้นวินัย ระบบความเสี่ยงที่ชัดเจน คุมขาดทุนรายวัน มีกลยุทธ์สำรอง และควบคุม Drawdown จุดสำคัญคือ “อยู่รอด” ไม่ใช่แค่ “ได้เยอะ” – เพราะตลาดมีทุกวัน แต่พอร์ตพังได้แค่ครั้งเดียว.
บทความนี้พาผู้อ่านไปรู้จักกับ “ดาร์กเว็บ” พื้นที่ลับของอินเทอร์เน็ตที่มักใช้ในการซื้อขายข้อมูลผิดกฎหมาย เช่น บัญชีการเงิน ข้อมูลบัตรเครดิต และซอฟต์แวร์แฮกระบบ ซึ่งกลายเป็นภัยคุกคามสำคัญต่อความปลอดภัยของนักเทรด โดยเฉพาะในยุคที่การลงทุนเชื่อมโยงกับโลกออนไลน์อย่างแน่นแฟ้น บทความยังแนะนำวิธีป้องกันตัวเอง 5 ข้อ เช่น ใช้ 2FA และตั้งรหัสผ่านอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูลส่วนตัวหลุดไปยังพื้นที่อันตรายเหล่านี้ พร้อมย้ำว่า “การรู้เท่าทัน” คือเกราะป้องกันชั้นแรกของนักลงทุนยุคดิจิทัล.
วงการคริปโตในไทยอาจได้รับผลกระทบครั้งใหญ่ หลัง Binance มีแนวโน้มจะถอด “เงินบาท” ออกจากระบบซื้อขายแบบ P2P ซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง ก.ล.ต. ไทยออกมาตรการควบคุมธุรกรรมคริปโตอย่างเข้มงวด เพื่อต่อสู้กับบัญชีม้าและการฟอกเงิน โดย Binance ยังไม่ระบุวันชัดเจน แต่ความเปลี่ยนแปลงนี้อาจส่งผลต่อพฤติกรรมนักลงทุนและภาพรวมตลาดคริปโตในประเทศ.
IC Markets Global
Neex
Saxo
GO MARKETS
Exness
ATFX
IC Markets Global
Neex
Saxo
GO MARKETS
Exness
ATFX
IC Markets Global
Neex
Saxo
GO MARKETS
Exness
ATFX
IC Markets Global
Neex
Saxo
GO MARKETS
Exness
ATFX